ชื่อโครงการ: โครงการให้ความรู้ และบริการการตรวจคัดกรองโรค Leptospirosis ในพื้นที่ระบาดของโรค
รายละเอียดโครงการ
วิทยาเขต วิทยาเขตหาดใหญ่
คณะ/หน่วยงาน คณะเทคนิคการแพทย์
ชื่อชมรม หน่วยกิจการนักศึกษา
ประเภทกิจกรรม ด้านวิชาการ
หมวดกิจกรรม กิจกรรมเข้าร่วม
กิจกรรมเพื่อส่งเสริม ทักษะทางสังคม วิชาการ วิชาชีพ และสร้างสมรรถนะสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย
บรรลุเป้าประสงค์
  • จิตสำนึกสาธารณะพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม (1 ชั่วโมง)
  • ทักษะทางสังคม วิชาการ วิชาชีพ และสร้างสมรรถนะสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย (3 ชั่วโมง)
ค่าชั่วโมง 4
ระหว่างวันที่ 28 ก.พ. - 14 มี.ค. 61
ปีการศึกษา 2560 ภาคการศึกษา 2
ผู้รับผิดชอบ งานกิจการนักศึกษา คณะเทคนิคการแพทย์
รายละเอียด โรคฉี่หนู หรือ leptospirosis เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในจีนัส ซึ่งมี Leptospira โดยพบว่า Leptospira interrogans เป็นสปีชีส์ที่ก่อโรค และ Leptospira biflexa เป็นเชื้อที่ไม่ก่อโรค พบทั่วไปในธรรมชาติ ผู้ป่วยมักมีประวัติการลุยน้ำ ลุยโคลน หรือสัมผัสคลุกคลีกับสัตว์ เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล ทางปาก หรือการลำลักน้ำ แล้วติดเชื้อที่กระแสเลือด มีระยะฟักตัวของเชื้อ 2-20 วัน อาการของโรคมีพบได้หลายระดับ ตั้งแต่ไม่พบอาการ ไปจนถึงเสียชีวิต อาการทั่วไปจะพบอาการเริ่มต้นด้วยไข้สูงฉับพลับ ปวดศรีษะ ปวดเมื่อยร่างกาย หลังจากนั้นเชื้อจะไปที่ไต และขับออกทางปัสสาวะ ผู้ป่วยอาจมีอาการตัวเหลืองตาเหลือง อาการแทรกซ้อนที่รุนแรงคือภาวะไตวายฉับพลัน เนื่องจากอาการทางคลินิกแยกได้ยากจากโรคติดเชื้ออื่นๆ จึงทำให้การวินิจฉัยของโรคผิดพลาดได้ง่าย
ในกลุ่มคนไข้ที่ไม่พบอาการ หรือมีการติดเชื้อแล้วรักษาไม่ถูกวิธี ซึ่งพบได้ประมาณ 10% ของผู้ติดเชื้อทั้งหมด จะกลายเป็นการติดเชื้อแบบเรื้อรัง (persistent human leptospirosis; PHL) ซึ่งผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะม่มีอาการของโรคใดๆ ปรากฎ และสามารถปล่อยเชื้อสู่สิ่งแวดล้อมได้ สาเหตุของการเกิด PHL เกิดจากการติดเชื้อ แล้วได้รับการวินิจฉัยและรักษาที่ไม่ถูกต้อง เชื้อจะไม่ถูก
จำนวนนศ.ที่เข้าร่วม 47
งบประมาณ
เงินงบประมาณแผ่นดิน 171000
เงินรายได้คณะ 0
เงินรายได้ส่วนกลาง 0
เงินบำรุงกิจกรรมนักศึกษา 0
เงินสโมสรนักศึกษา 0
เงินสนับสนุนอื่นๆ 0
งบประมาณที่ใช้จริง 170905.05
รวม 171000